ตรวจวัดสายตา

ตรวจวัดสายตา วัดสายตาด้วยตัวเอง การตรวจสายตา วัดสายตา มีผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันของเราเป็นอย่างมาก เราจึงควรที่จะดูแลรักษาสุขภาพ สายตา ทดสอบสายตา อยู่ตลอดเวลา ซึ่งสามารถไปวัดสายตา ได้ตามร้านแว่นตา หรือโรงพยาบาลแถวที่ท่านอยู่อาศัย วิธีเลือกแว่นตา เพื่อตรวจสอบสายตา เช็คสายตา ตรวจวัดสายตา โดยนักทัศนมาตรที่มีฝีมือ แต่ในปัจจุบัน เราสามารถวัดสายตาออนไลน์ ด้วยตัวเองได้แล้ว ซึ่งผลที่ได้อาจจะไม่ตรงตามความต้องการ หรือช่วยแก้ปัญหาด้านสายตาได้เต็ม 100%

วัดสายตา ตรวจวัดสายตาด้วยตัวเอง ทำได้ไหม ?

   การวัดสายตา (Visual Acuity) ตั้งแต่เด็กๆ พวกเราคงคุ้นเคยกับการ วัดสายตา วัดสายตาด้วยตัวเอง ตอนไปตรวจวัดการมองเห็นด้วยป้าย ตรวจวัดสายตา ด้านล่าง ที่มีตัวเลข 85 ตัวใหญ่ๆ ข้างบนสุด ในหมู่ช่างแว่น นัก วัดสายตา มักเรียกติดปากกันว่า “แผ่น 85” ทั้งนี้มีหน้าตาต่างกันไป นี่เป็น 1 ในเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดสายตา วัดสายตาด้วยตัวเอง เราเรียกป้ายนี้ว่า ชาร์ตสเนลเลน ชาร์ต (Snellen Chart) หรือก็คือการวัดความสามารถในการมองเห็นที่แท้จริง ชาร์ตบางแผ่นจะไม่ทำเป็นตัวเลข แต่จะทำเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือบางแห่งจะมีเป็นภาษาไทยก็แล้วแต่สำหรับคนไข้ที่อ่านหนังสือออก

สเนลเลนชาร์ต

ส่วนผู้ที่อ่านหนังสือไม่ออก ชาร์ตทดสอบ วัดสายตา ตรวจวัดสายตา นี้จะทำเป็นรูปภาพที่สามารถจะสื่อความหมายให้กับผู้ที่มองเห็นภาพ สามารถบอกได้ว่าเป็นภาพอะไร ๆ โดยทำให้มีขนาดใหญ่ แล้วเล็กลงตามลำดับ แต่จะบันทึก เช่นเดียวกับตัวเลขหรือตัวอักษรที่กล่าวมาแล้ว แน่นอนว่า การตรวจ วัดสายตาด้วยตัวเอง นั้นสามารถทำได้ โดย มีขั้นตอน ดังนี้

วิธีการ วัดสายตาด้วยตัวเอง ตรวจ วัดสายตา ด้วยแผ่นทดสอบสายตาสเนลเลนชาร์ต (Snellen’s chart) นี้ ให้แขวนหรือติดตั้งให้อยู่แนวระดับสายตา ภายในห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอ และสามารถเห็นได้ชัด ไม่ควรไปแขวนแปะติด ปะปนกับภาพชนิดอื่น จะทำให้เกิดการไขว้เขวในการทดสอบ ไม่ควรไว้ตรงซอกตรงมุมที่อับแสง ถ้าในห้องมีดควรจะมีโป๊ะไฟตั้งหรือไฟส่องที่แผ่นชาร์ตสว่างขนาดไฟ 60 แรงเทียน เมื่อติดตั้งแผ่นชาร์ตเรียบร้อยแล้ว เริ่มดำเนินการทดสอบได้ตามลำดับขั้นตอนดังนี้

ให้ผู้ทดสอบนั่งหรือยืนก็แล้วแต่ระดับของแผ่นชาร์ตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังห้อง ระยะทางห่างจากชาร์ต 6 เมตร (หรือตามระบบอเมริกันจะใช้เป็นฟุต ก็คือ 20 ฟุต)
โดยการทดสอบสายตา ตรวจวัดสายตา เช็คสายตา วัดสายตา ให้ใช้ตาข้างขวาก่อน ให้เอากระดาษแข็งเล็ก ๆ หรืออะไรก็ได้ (Occluder) บังตาซ้ายไว้ (ไม่ควรใช้มือปิดหรือแผ่นอะไรไปกดลงบนตาซ้าย จะทำให้ตาข้างนั้นมัวได้เมื่อเปิดออกมา)  เริ่มต้นให้คนไข้อ่านตัวเลขลงมาทีละแถว ๆ ลงมาเรื่อย ๆ ถ้าอ่านหนังสือไม่ออกก็ใช้ชาร์ตที่เป็นภาพหรือสื่ออย่างอื่นแทนจนกระทั่งถึงแถวล่างสุดให้บันทึกสายตาขวาลงไปได้เลยว่า 6 (หรือ 20)  แต่ถ้าคนไข้อ่านได้แค่แถวที่ 4 คือตัวเลข 6 3 9 5 2 บันทึกสายตาลงไปว่า 6 (หรือ 20) แถวต่ำสุด
ในกรณีที่สายตาปกติอ่านด้วยตาขวาและตาซ้ายทีละข้างได้ถึงแถวสุดท้าย (ที่มีเส้นแดง) ให้บันทึกลงไปว่า สายตา Visual Acuity  ( 6 หรือ 20 )
ถ้าอ่านไม่ได้ถึงแถวเส้นแดงให้บันทึกไปเท่าที่อ่านได้ เช่น 6 , 20  เป็นต้น แสดงว่าสายตาผิดปกติ ในบางที่ การ วัดสายตา บันทึกสายตา อาจจะให้คนไข้อ่านจนเลยแถวมาตรฐาน ( , ซึ่งมีเส้นสีแดงขีดไว้ข้างใต้) คืออ่านแถวเล็กสุดท้าย คือ 3 8 7 5 2 6 4 ก็ได้ บ่งบอกถึงว่าสายตาข้างนั้น ๆ ดีมาก

เพราะสายตาเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินชีวิต คุณจึงควรรู้จัก วัดสายตา ปัญหาสายตาต่าง ๆ เรียนรู้การ วัดสายตาด้วยตัวเอง

เรามาทำความรู้จักปัญหาสายตา วิธี ตรวจวัดสายตา เช็คสายตา วัดสายตา วัดสายตาด้วยตัวเอง ในปัจจุบัน เราจะว่ามีอะไรบ้าง และมีความแตกต่างกันอย่างไร

  • ปัญหาค่าสายตาสั้น คือ การที่บุคคลนั้นมองเห็นวัตถุในระยะใกล้ได้ชัดเจนปกติ แต่กลับมองเห็นวัตถุที่อยู่ไกลๆได้ไม่ชัดเจน ซึ่งสามารถพบได้บ่อยในกลุ่มคนที่มีอายุต่ำกว่า 40 ปี หรือ กลุ่มเด็กวัยเรียน
  • ปัญหาค่าสายตายาว คือ บุคคลนั้นจะสามารถมองเห็นวัตถุหรือสิ่งต่างๆในระยะไกลได้ชัดเจนตามปกติ แต่กลับมองเห็นวัตถุในระยะใกล้ๆได้ไม่ชัดเจนแทน ซึ่งมีการแบ่งตามอายุออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ปัญหาสายตายาวโดยกำเนิด ปัญหาสายตายาวทั่วไป และปัญหาสายตายาวตามอายุ
  • ปัญหาค่าสายตาเอียง คือ มีการมองวัตถุในระยะใกล้ และระยะไกลไม่ชัดเจน มีการมองเห็นภาพเป็นเงาซ้อน หรือบิดเบี้ยวไปจากความเป็นจริง ซึ่งสามารถเกิดร่วมกันกับปัญหาสายตาสั้น หรือสายตายาวได้

ปัญหาสายตา ไม่ใช่เรื่องไกลตัว การ วัดสายตา จึงเป็นเรื่องที่ควรใส่ใจ

ผมเองเป็นคนนึงที่เคยคิดว่า ปัญหาสายตา ไม่ว่าจะเป็น สายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง วัดสายตา เป็นปัญหาที่ไกลตัว เพราะคิดว่าคนเราคงไม่เจอปัญหาสายตาพวกนี้กันง่าย ๆ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัญหาเหล่านี้กลับใกล้ตัวกว่าที่คิด ทุกครั้งที่คุณหยิบมือถือขึ้นมาเล่น หรือเล่นเกมส์บนมือถือ โดยที่ไม่มีการใส่แว่น หรือสิ่งป้องกันรังสีจากอุปกรณ์มือถือ รังสีพวกนี้ก็จะคอยบั่นทอนสายตาของคุณไปเรื่อย ๆ และนี่เป็นเหตุผลที่ผมกลับมาเริ่มให้ความใส่ใจกับสายตาของตัวเอง เริ่มที่จะ ตรวจวัดสายตา และผมอยากให้พวกคุณทุกคนที่ได้อ่านบทความนี้ กลับมาเริ่มใส่ใจสายตาของตัวเองกัน โดยเริ่มจากเรียนรู้วิธีการ ตรวจวัดสายตา วัดสายตาด้วยตัวเอง หากเริ่มรู้สึกว่าใช้สายตานานๆ แล้วเกิดอาการล้า ก็ไปพบแพทย์​ หรือเข้า ร้านแว่นตาใกล้คุณ​ เพื่อพบผู้เชี่ยวชาญ และช่วยแก้ไขปัญหาสายตา วัดสายตา ให้กับคุณ

หากท่านสนใจอยากสอบถามแว่นตา วัดสายตาด้วยตัวเอง หรือปรึกษาปัญหาด้านสายตา วัดสายตาประกอบแว่น

สามารถแอดไลน์ของเรามาได้ที่ @187ynehr หรือ FACEBOOK : Oranoptik